- ขอแบบพิมพ์คำร้องขอประกันตัวได้จากเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ของศาล
- เขียนคำร้องขอประกันตัวได้เอง โดยขอคำแนะนำหรือดูตัวอย่างได้จากเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ หากผู้ขอประกันเขียนหนังสือไม่ได้ เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์จะช่วยเขียนให้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ
- ให้ผู้ต้องหาหรือจำเลยลงชื่อในคำร้องขอประกันตัวหากผู้ต้องหาหรือจำเลยไม่ได้ถูกขังอยู่ที่ศาล ไม่ต้องนำคำร้องไปให้จำเลยลงชื่อ ** จะมีหมายเหตุที่ท้ายหมายปล่อย ระบุชื่อผู้ขอประกันไว้และให้เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์สอบถามจำเลยว่าจะคัดค้านหรือไม่หากคัดค้านให้งดการปล่อยและส่งหมายคืนศาล
- นายประกันยื่นคำร้องขอประกันตัวพร้อมหลักฐานต่างๆที่เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์
- เมื่อเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ได้ตรวจคำร้องและหลักฐานเรียบร้อยแล้วจะลงบัญชีรับเรื่องไว้เป็นหลักฐาน แล้วนำเสนอคำร้องต่อผู้พิพากษาเพื่อพิจารณาสั่งคำร้อง เมื่อผู้พิพากษาสั่งคำร้องแล้ว จะส่งคำร้องขอประกันตัวกลับคืนไปที่เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์
- เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์จะแจ้งคำสั่งของศาลให้นายประกันทราบหากศาลมีคำสั่งอนุญาตเจ้าหน้าที่จะเก็บหลักประกันและหรือรับเงินประกัน โดยเจ้าหน้าที่จะออกใบรับหลักฐานการขอประกันและใบรับเงินให้ จากนั้นหากผู้ต้องหาหรือจำเลยถูกควบคุมตัวอยู่ที่ศาลและยังไม่มีการออกหมายขัง จะนำตัวผู้ต้องหาหรือจำเลยออกจากห้องควบคุมในศาลได้เลย แต่หากผู้ต้องหาหรือจำเลยอยู่ระหว่างถูกขังตามหมายศาล เจ้าหน้าที่จะนำหมายปล่อยไปปล่อย ณ ที่ถูกคุมขัง โดยผู้ต้องหาหรือจำเลยจะถูกปล่อยตัวในวันที่ศาลมีคำสั่งอนุญาตให้ประกันตัว แต่หากศาลไม่อนุญาตให้ประกัน ผู้ขอประกันขอรับหลักทรัพย์ที่ยื่นไว้คืนได้จากเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ ทั้งนี้ การขอประกันในระหว่างอุทธรณ์หรือฎีกา ใช้หลักเกณฑ์เช่นเดียวกับที่กล่าวมาแล้ว แต่ศาลอาจใช้ดุลยพินิจเพิ่มหลักประกันจากของศาลชั้นต้นได้
*** ที่มา : คู่มือการติดต่อราชการศาลยุติธรรม ฉบับประชาชน
- ขอแบบพิมพ์คำร้องขอประกันตัวได้จากเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ของศาล
- เขียนคำร้องขอประกันตัวได้เอง โดยขอคำแนะนำหรือดูตัวอย่างได้จากเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ หากผู้ขอประกันเขียนหนังสือไม่ได้ เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์จะช่วยเขียนให้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ
- ให้ผู้ต้องหาหรือจำเลยลงชื่อในคำร้องขอประกันตัวหากผู้ต้องหาหรือจำเลยไม่ได้ถูกขังอยู่ที่ศาล ไม่ต้องนำคำร้องไปให้จำเลยลงชื่อ ** จะมีหมายเหตุที่ท้ายหมายปล่อย ระบุชื่อผู้ขอประกันไว้และให้เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์สอบถามจำเลยว่าจะคัดค้านหรือไม่หากคัดค้านให้งดการปล่อยและส่งหมายคืนศาล
- นายประกันยื่นคำร้องขอประกันตัวพร้อมหลักฐานต่างๆที่เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์
- เมื่อเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ได้ตรวจคำร้องและหลักฐานเรียบร้อยแล้วจะลงบัญชีรับเรื่องไว้เป็นหลักฐาน แล้วนำเสนอคำร้องต่อผู้พิพากษาเพื่อพิจารณาสั่งคำร้อง เมื่อผู้พิพากษาสั่งคำร้องแล้ว จะส่งคำร้องขอประกันตัวกลับคืนไปที่เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์
- เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์จะแจ้งคำสั่งของศาลให้นายประกันทราบหากศาลมีคำสั่งอนุญาตเจ้าหน้าที่จะเก็บหลักประกันและหรือรับเงินประกัน โดยเจ้าหน้าที่จะออกใบรับหลักฐานการขอประกันและใบรับเงินให้ จากนั้นหากผู้ต้องหาหรือจำเลยถูกควบคุมตัวอยู่ที่ศาลและยังไม่มีการออกหมายขัง จะนำตัวผู้ต้องหาหรือจำเลยออกจากห้องควบคุมในศาลได้เลย แต่หากผู้ต้องหาหรือจำเลยอยู่ระหว่างถูกขังตามหมายศาล เจ้าหน้าที่จะนำหมายปล่อยไปปล่อย ณ ที่ถูกคุมขัง โดยผู้ต้องหาหรือจำเลยจะถูกปล่อยตัวในวันที่ศาลมีคำสั่งอนุญาตให้ประกันตัว แต่หากศาลไม่อนุญาตให้ประกัน ผู้ขอประกันขอรับหลักทรัพย์ที่ยื่นไว้คืนได้จากเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ ทั้งนี้ การขอประกันในระหว่างอุทธรณ์หรือฎีกา ใช้หลักเกณฑ์เช่นเดียวกับที่กล่าวมาแล้ว แต่ศาลอาจใช้ดุลยพินิจเพิ่มหลักประกันจากของศาลชั้นต้นได้
*** ที่มา : คู่มือการติดต่อราชการศาลยุติธรรม ฉบับประชาชน
- ขอแบบพิมพ์คำร้องขอประกันตัวได้จากเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ของศาล
- เขียนคำร้องขอประกันตัวได้เอง โดยขอคำแนะนำหรือดูตัวอย่างได้จากเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ หากผู้ขอประกันเขียนหนังสือไม่ได้ เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์จะช่วยเขียนให้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ
- ให้ผู้ต้องหาหรือจำเลยลงชื่อในคำร้องขอประกันตัวหากผู้ต้องหาหรือจำเลยไม่ได้ถูกขังอยู่ที่ศาล ไม่ต้องนำคำร้องไปให้จำเลยลงชื่อ ** จะมีหมายเหตุที่ท้ายหมายปล่อย ระบุชื่อผู้ขอประกันไว้และให้เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์สอบถามจำเลยว่าจะคัดค้านหรือไม่หากคัดค้านให้งดการปล่อยและส่งหมายคืนศาล
- นายประกันยื่นคำร้องขอประกันตัวพร้อมหลักฐานต่างๆที่เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์
- เมื่อเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ได้ตรวจคำร้องและหลักฐานเรียบร้อยแล้วจะลงบัญชีรับเรื่องไว้เป็นหลักฐาน แล้วนำเสนอคำร้องต่อผู้พิพากษาเพื่อพิจารณาสั่งคำร้อง เมื่อผู้พิพากษาสั่งคำร้องแล้ว จะส่งคำร้องขอประกันตัวกลับคืนไปที่เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์
- เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์จะแจ้งคำสั่งของศาลให้นายประกันทราบหากศาลมีคำสั่งอนุญาตเจ้าหน้าที่จะเก็บหลักประกันและหรือรับเงินประกัน โดยเจ้าหน้าที่จะออกใบรับหลักฐานการขอประกันและใบรับเงินให้ จากนั้นหากผู้ต้องหาหรือจำเลยถูกควบคุมตัวอยู่ที่ศาลและยังไม่มีการออกหมายขัง จะนำตัวผู้ต้องหาหรือจำเลยออกจากห้องควบคุมในศาลได้เลย แต่หากผู้ต้องหาหรือจำเลยอยู่ระหว่างถูกขังตามหมายศาล เจ้าหน้าที่จะนำหมายปล่อยไปปล่อย ณ ที่ถูกคุมขัง โดยผู้ต้องหาหรือจำเลยจะถูกปล่อยตัวในวันที่ศาลมีคำสั่งอนุญาตให้ประกันตัว แต่หากศาลไม่อนุญาตให้ประกัน ผู้ขอประกันขอรับหลักทรัพย์ที่ยื่นไว้คืนได้จากเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ ทั้งนี้ การขอประกันในระหว่างอุทธรณ์หรือฎีกา ใช้หลักเกณฑ์เช่นเดียวกับที่กล่าวมาแล้ว แต่ศาลอาจใช้ดุลยพินิจเพิ่มหลักประกันจากของศาลชั้นต้นได้
*** ที่มา : คู่มือการติดต่อราชการศาลยุติธรรม ฉบับประชาชน