- เมื่อถูกฟ้องเป็นจำเลย ควรปรึกษาทนายความและแต่งตั้งทนายความเพื่อว่าความและดำเนินการทางศาลแทน
- เมื่อจำเลยได้รับหมายเรียกให้ยื่นคำให้การ จะต้องยื่นคำให้การภายในกำหนด
- การนับระยะเวลายื่นคำให้การ จะเริ่มนับตั้งแต่วันที่จำเลยได้รับหมายเรียกและสำเนาคำฟ้อง หรือบุคคลอื่นที่อายุเกิน 20 ปี ซึ่งอยู่ทำงานในบ้านหรือที่ทำงานเดียวกับจำเลยรับหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องแทน แต่หากเป็นกรณีส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้แก่จำเลยด้วยการปิดหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องไว้ที่บ้านหรือที่ทำงานของจำเลย หรือประกาศโฆษณาทางหนังสือพิมพ์การนับระยะเวลาจะเริ่มนับเมื่อพ้น 15 วัน นับแต่วันปิดหรือวันประกาศโฆษณา กล่าวง่ายๆ ก็คือ จำเลยได้เวลาเพิ่มอีก 15 วันซึ่งถ้าจำเลยไม่สามารถ ยื่นคำให้การภายในกำหนดได้ ก็อาจจะยื่นคำร้องขอให้ศาลขยายระยะเวลายื่นคำให้การได้ โดยต้องมีเหตุผลพิเศษอ้างเหตุที่ขอขยายระยะเวลานั้น จากนั้นจึงเป็นดุลพินิจของศาลที่จะอนุญาตหรือไม่อนุญาต
- เตรียมหลักประกันเพื่อยื่นคำร้องขอปล่อยชั่วคราวต่อศาล
- จะต้องมาศาลตามกำหนดนัด
- หากมีข้อสงสัยให้โทรศัพท์สอบถามเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ของศาลที่จำเลยถูกฟ้องการตั้งทนายขอแรงกรณีที่จำเลยไม่อาจหาทนายความได้ รัฐจะให้ความช่วยเหลือโดยให้ศาลเป็นผู้จัดหาทนายความ หรือทนายขอแรงให้ ในกรณีดังนี้
– ในคดีที่มีอัตราโทษประหารชีวิต หรือในคดีที่จำเลยมีอายุไม่เกิน 18 ปี ในวันที่ถูกฟ้องต่อศาล ก่อนเริ่มพิจารณาให้ศาลถามจำเลยว่ามีทนายความหรือไม่ ถ้าไม่มีให้ศาลตั้งทนายความให้
– ในคดีที่มีอัตราโทษจำคุก ก่อนเริ่มพิจารณาให้ศาลถามจำเลยว่ามีทนายความหรือไม่ ถ้าไม่มีและจำเลยต้องการทนายความก็ให้ศาลตั้งทนายความให้
– ศาลจะสั่งจ่ายเงินรางวัลและค่าใช้จ่ายแก่ทนายความที่ศาลตั้งโดยจำเลยไม่ต้องจ่ายเงินให้แก่ทนายความที่ศาลแต่งตั้งให้ดังกล่าว
*** ที่มา : คู่มือการติดต่อราชการศาลยุติธรรม ฉบับประชาชน
- เมื่อถูกฟ้องเป็นจำเลย ควรปรึกษาทนายความและแต่งตั้งทนายความเพื่อว่าความและดำเนินการทางศาลแทน
- เมื่อจำเลยได้รับหมายเรียกให้ยื่นคำให้การ จะต้องยื่นคำให้การภายในกำหนด
- การนับระยะเวลายื่นคำให้การ จะเริ่มนับตั้งแต่วันที่จำเลยได้รับหมายเรียกและสำเนาคำฟ้อง หรือบุคคลอื่นที่อายุเกิน 20 ปี ซึ่งอยู่ทำงานในบ้านหรือที่ทำงานเดียวกับจำเลยรับหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องแทน แต่หากเป็นกรณีส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้แก่จำเลยด้วยการปิดหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องไว้ที่บ้านหรือที่ทำงานของจำเลย หรือประกาศโฆษณาทางหนังสือพิมพ์การนับระยะเวลาจะเริ่มนับเมื่อพ้น 15 วัน นับแต่วันปิดหรือวันประกาศโฆษณา กล่าวง่ายๆ ก็คือ จำเลยได้เวลาเพิ่มอีก 15 วันซึ่งถ้าจำเลยไม่สามารถ ยื่นคำให้การภายในกำหนดได้ ก็อาจจะยื่นคำร้องขอให้ศาลขยายระยะเวลายื่นคำให้การได้ โดยต้องมีเหตุผลพิเศษอ้างเหตุที่ขอขยายระยะเวลานั้น จากนั้นจึงเป็นดุลพินิจของศาลที่จะอนุญาตหรือไม่อนุญาต
- เตรียมหลักประกันเพื่อยื่นคำร้องขอปล่อยชั่วคราวต่อศาล
- จะต้องมาศาลตามกำหนดนัด
- หากมีข้อสงสัยให้โทรศัพท์สอบถามเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ของศาลที่จำเลยถูกฟ้องการตั้งทนายขอแรงกรณีที่จำเลยไม่อาจหาทนายความได้ รัฐจะให้ความช่วยเหลือโดยให้ศาลเป็นผู้จัดหาทนายความ หรือทนายขอแรงให้ ในกรณีดังนี้
– ในคดีที่มีอัตราโทษประหารชีวิต หรือในคดีที่จำเลยมีอายุไม่เกิน 18 ปี ในวันที่ถูกฟ้องต่อศาล ก่อนเริ่มพิจารณาให้ศาลถามจำเลยว่ามีทนายความหรือไม่ ถ้าไม่มีให้ศาลตั้งทนายความให้
– ในคดีที่มีอัตราโทษจำคุก ก่อนเริ่มพิจารณาให้ศาลถามจำเลยว่ามีทนายความหรือไม่ ถ้าไม่มีและจำเลยต้องการทนายความก็ให้ศาลตั้งทนายความให้
– ศาลจะสั่งจ่ายเงินรางวัลและค่าใช้จ่ายแก่ทนายความที่ศาลตั้งโดยจำเลยไม่ต้องจ่ายเงินให้แก่ทนายความที่ศาลแต่งตั้งให้ดังกล่าว
*** ที่มา : คู่มือการติดต่อราชการศาลยุติธรรม ฉบับประชาชน
- เมื่อถูกฟ้องเป็นจำเลย ควรปรึกษาทนายความและแต่งตั้งทนายความเพื่อว่าความและดำเนินการทางศาลแทน
- เมื่อจำเลยได้รับหมายเรียกให้ยื่นคำให้การ จะต้องยื่นคำให้การภายในกำหนด
- การนับระยะเวลายื่นคำให้การ จะเริ่มนับตั้งแต่วันที่จำเลยได้รับหมายเรียกและสำเนาคำฟ้อง หรือบุคคลอื่นที่อายุเกิน 20 ปี ซึ่งอยู่ทำงานในบ้านหรือที่ทำงานเดียวกับจำเลยรับหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องแทน แต่หากเป็นกรณีส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้แก่จำเลยด้วยการปิดหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องไว้ที่บ้านหรือที่ทำงานของจำเลย หรือประกาศโฆษณาทางหนังสือพิมพ์การนับระยะเวลาจะเริ่มนับเมื่อพ้น 15 วัน นับแต่วันปิดหรือวันประกาศโฆษณา กล่าวง่ายๆ ก็คือ จำเลยได้เวลาเพิ่มอีก 15 วันซึ่งถ้าจำเลยไม่สามารถ ยื่นคำให้การภายในกำหนดได้ ก็อาจจะยื่นคำร้องขอให้ศาลขยายระยะเวลายื่นคำให้การได้ โดยต้องมีเหตุผลพิเศษอ้างเหตุที่ขอขยายระยะเวลานั้น จากนั้นจึงเป็นดุลพินิจของศาลที่จะอนุญาตหรือไม่อนุญาต
- เตรียมหลักประกันเพื่อยื่นคำร้องขอปล่อยชั่วคราวต่อศาล
- จะต้องมาศาลตามกำหนดนัด
- หากมีข้อสงสัยให้โทรศัพท์สอบถามเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ของศาลที่จำเลยถูกฟ้องการตั้งทนายขอแรงกรณีที่จำเลยไม่อาจหาทนายความได้ รัฐจะให้ความช่วยเหลือโดยให้ศาลเป็นผู้จัดหาทนายความ หรือทนายขอแรงให้ ในกรณีดังนี้
– ในคดีที่มีอัตราโทษประหารชีวิต หรือในคดีที่จำเลยมีอายุไม่เกิน 18 ปี ในวันที่ถูกฟ้องต่อศาล ก่อนเริ่มพิจารณาให้ศาลถามจำเลยว่ามีทนายความหรือไม่ ถ้าไม่มีให้ศาลตั้งทนายความให้
– ในคดีที่มีอัตราโทษจำคุก ก่อนเริ่มพิจารณาให้ศาลถามจำเลยว่ามีทนายความหรือไม่ ถ้าไม่มีและจำเลยต้องการทนายความก็ให้ศาลตั้งทนายความให้
– ศาลจะสั่งจ่ายเงินรางวัลและค่าใช้จ่ายแก่ทนายความที่ศาลตั้งโดยจำเลยไม่ต้องจ่ายเงินให้แก่ทนายความที่ศาลแต่งตั้งให้ดังกล่าว
*** ที่มา : คู่มือการติดต่อราชการศาลยุติธรรม ฉบับประชาชน