ทำอย่างไรเมื่อได้รับหมายเรียก
ทำอย่างไรเมื่อได้รับหมายเรียก
ทำอย่างไรเมื่อได้รับหมายเรียก
  1. เมื่อได้รับหมายเรียก ควรดูอย่างรอบคอบว่าเป็นหมายของศาลใด ศาลนั้นตั้งอยู่ที่ใด ต้องไปเบิกความ ในวันและเวลาใดหากมีข้อสงสัยควรโทรศัพท์สอบถามไปยังศาลตามหมายเลขโทรศัพท์และที่อยู่ด้านล่างของหมายเรียก
  2. ไปศาลตามวันและเวลานัด แต่หากมีความจำเป็นไม่อาจไปศาลตามกำหนดได้ ต้องรีบแจ้งให้ศาลทราบก่อนวันนัดเพราะการขัดขืนไม่ไปศาล อาจถูกศาลออกหมายจับเพื่อเอาตัวกักขังไว้จนกว่าจะเบิกความและยังถือว่าเป็นความผิดต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน1,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
  3. ตรวจหมายเลขห้องพิจารณาคดีและรอการเบิกความที่ห้องพิจารณาคดีจึงควรนำหมายเรียกติดตัวไปศาลด้วยเพื่อความสะดวกในการติดต่อสอบถาม และเมื่อมาถึงศาลแล้ว ให้หาห้องพิจารณาคดีโดยอาจสอบถามจากพนักงานต้อนรับประจำศาลหรือเจ้าหน้าที่หน้าบัลลังก์หรือป้ายอักษรวิ่งจอคอมพิวเตอร์ในศาลนอกจากนี้ ควรนำหลักฐานประจำตัวเช่นบัตรประจำตัวประชาชนติดตัวไปด้วยเพื่อใช้ยืนยันตน
  4. ก่อนเบิกความพยานต้องสาบานตนตามลัทธิศาสนาที่ตนเองนับถือหรือปฏิญาณว่าจะให้การตามความสัตย์จริงเสียก่อนยกเว้นบุคคลที่มีอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี บุคคลที่ศาลเห็นว่าหย่อนความรู้สึกผิดและชอบ พระภิกษุหรือสามเณรในพุทธศาสนา และบุคคลที่คู่ความทั้ง ๒ ฝ่ายตกลงกันว่าไม่ต้องสาบาน ผู้ที่ขัดขืนคำสั่งของศาลที่ให้สาบานหรือให้ปฏิญาณจะมีความผิด ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1,0000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ

*** ที่มา : คู่มือการติดต่อราชการศาลยุติธรรม ฉบับประชาชน

  1. เมื่อได้รับหมายเรียก ควรดูอย่างรอบคอบว่าเป็นหมายของศาลใด ศาลนั้นตั้งอยู่ที่ใด ต้องไปเบิกความ ในวันและเวลาใดหากมีข้อสงสัยควรโทรศัพท์สอบถามไปยังศาลตามหมายเลขโทรศัพท์และที่อยู่ด้านล่างของหมายเรียก
  2. ไปศาลตามวันและเวลานัด แต่หากมีความจำเป็นไม่อาจไปศาลตามกำหนดได้ ต้องรีบแจ้งให้ศาลทราบก่อนวันนัดเพราะการขัดขืนไม่ไปศาล อาจถูกศาลออกหมายจับเพื่อเอาตัวกักขังไว้จนกว่าจะเบิกความและยังถือว่าเป็นความผิดต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน1,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
  3. ตรวจหมายเลขห้องพิจารณาคดีและรอการเบิกความที่ห้องพิจารณาคดีจึงควรนำหมายเรียกติดตัวไปศาลด้วยเพื่อความสะดวกในการติดต่อสอบถาม และเมื่อมาถึงศาลแล้ว ให้หาห้องพิจารณาคดีโดยอาจสอบถามจากพนักงานต้อนรับประจำศาลหรือเจ้าหน้าที่หน้าบัลลังก์หรือป้ายอักษรวิ่งจอคอมพิวเตอร์ในศาลนอกจากนี้ ควรนำหลักฐานประจำตัวเช่นบัตรประจำตัวประชาชนติดตัวไปด้วยเพื่อใช้ยืนยันตน
  4. ก่อนเบิกความพยานต้องสาบานตนตามลัทธิศาสนาที่ตนเองนับถือหรือปฏิญาณว่าจะให้การตามความสัตย์จริงเสียก่อนยกเว้นบุคคลที่มีอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี บุคคลที่ศาลเห็นว่าหย่อนความรู้สึกผิดและชอบ พระภิกษุหรือสามเณรในพุทธศาสนา และบุคคลที่คู่ความทั้ง ๒ ฝ่ายตกลงกันว่าไม่ต้องสาบาน ผู้ที่ขัดขืนคำสั่งของศาลที่ให้สาบานหรือให้ปฏิญาณจะมีความผิด ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1,0000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ

*** ที่มา : คู่มือการติดต่อราชการศาลยุติธรรม ฉบับประชาชน

  1. เมื่อได้รับหมายเรียก ควรดูอย่างรอบคอบว่าเป็นหมายของศาลใด ศาลนั้นตั้งอยู่ที่ใด ต้องไปเบิกความ ในวันและเวลาใดหากมีข้อสงสัยควรโทรศัพท์สอบถามไปยังศาลตามหมายเลขโทรศัพท์และที่อยู่ด้านล่างของหมายเรียก
  2. ไปศาลตามวันและเวลานัด แต่หากมีความจำเป็นไม่อาจไปศาลตามกำหนดได้ ต้องรีบแจ้งให้ศาลทราบก่อนวันนัดเพราะการขัดขืนไม่ไปศาล อาจถูกศาลออกหมายจับเพื่อเอาตัวกักขังไว้จนกว่าจะเบิกความและยังถือว่าเป็นความผิดต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน1,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
  3. ตรวจหมายเลขห้องพิจารณาคดีและรอการเบิกความที่ห้องพิจารณาคดีจึงควรนำหมายเรียกติดตัวไปศาลด้วยเพื่อความสะดวกในการติดต่อสอบถาม และเมื่อมาถึงศาลแล้ว ให้หาห้องพิจารณาคดีโดยอาจสอบถามจากพนักงานต้อนรับประจำศาลหรือเจ้าหน้าที่หน้าบัลลังก์หรือป้ายอักษรวิ่งจอคอมพิวเตอร์ในศาลนอกจากนี้ ควรนำหลักฐานประจำตัวเช่นบัตรประจำตัวประชาชนติดตัวไปด้วยเพื่อใช้ยืนยันตน
  4. ก่อนเบิกความพยานต้องสาบานตนตามลัทธิศาสนาที่ตนเองนับถือหรือปฏิญาณว่าจะให้การตามความสัตย์จริงเสียก่อนยกเว้นบุคคลที่มีอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี บุคคลที่ศาลเห็นว่าหย่อนความรู้สึกผิดและชอบ พระภิกษุหรือสามเณรในพุทธศาสนา และบุคคลที่คู่ความทั้ง ๒ ฝ่ายตกลงกันว่าไม่ต้องสาบาน ผู้ที่ขัดขืนคำสั่งของศาลที่ให้สาบานหรือให้ปฏิญาณจะมีความผิด ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1,0000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ

*** ที่มา : คู่มือการติดต่อราชการศาลยุติธรรม ฉบับประชาชน

Get a personal consultation.

Contact ! 089 510 4758 | [email protected]

ขอคำปรึกษาทางกฎหมายฟรี

ติดต่อทนายความ ! 089 510 4758 | [email protected]