เลิกจ้างเพราะมาทำงานสาย.
เลิกจ้างเพราะมาทำงานสาย.
เลิกจ้างเพราะมาทำงานสาย.

เมื่อลูกจ้างมาทำงานสาย และนายจ้างได้เตือนเป็นหนังสือแล้ว ลูกจ้างยังคงกระทำผิดซ้ำคำเตือนภายใน 1 ปี นายจ้างเลิกจ้างได้ทันทีโดยไม่ต้องจ่ายค่าบอกกล่าวล่วงหน้าและค่าชดเชย

เดิมลูกจ้างมาปฏิบัติงานสายเป็นประจำ และขาดงานโดยไม่มีการแจ้งลา ซึ่งการกระทำดังกล่าว ถือเป็นการฝ่าฝืนข้อบังคับเกี่ยวกับทำงาน ระเบียบ หรือคำสั่งของนายจ้าง ซึ่งเป็นกรณีที่ไม่ร้ายแรง ต่อมาเมื่อนายจ้างได้มีหนังสือเตือนเกี่ยวกับพฤติการดังกล่าว และลูกจ้างยังคงมีพฤติกรรมเช่นเดิม กล่าวคือ ยังมาปฏิบัติงานสาย  และขาดงาดโดยไม่แจ้งการลา ทั้ง ไม่ปรับปรุงการทำงาน ยังคงกระทำผิดซ้ำคำเตือนภายใน 1 ปี นับแต่กระทำผิดครั้งที่ถูกต้องเตือน พฤติกรรมดังกล่าวเป็นการกระทำอันไม่สมแก่การปฏิบัติหน้าที่ของตนให้ลุล่วงไปโดยถูกต้องและสุจริต นายจ้างจึงเลิกจ้างลูกจ้างได้ โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าและไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย ทั้งยังเป็นการเลิกจ้างที่มีเหตุอันสมควรและเพียงพอ ไม่ถือเป็นการเลิกจ้างโดยไม่เป็นธรรม ลูกจ้างจึงไม่มีสิทธิได้รับค่าเสียหายจากการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม

การพิจารณาว่าประพฤติผิดร้ายแรงหรือไม่ ต้องพิจารณาเป็นรายกรณีไป จากตัวอย่างข้างต้นจะเห็นได้ว่า การมาปฏิบัติงานสายเป็นประจำ เป็นการประพฤติผิดข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานกรณีไม่ร้ายแรง หากจะเลิกจ้างในทันทีจะต้องจ่ายค่าบอกกล่าวล่วงหน้า และค่าชดเชยตามกฎหมาย ยกเว้นลูกจ้างทำผิดซ้ำคำเตือนอีก ภายใน 1 ปี นับแต่วันที่นายจ้างได้มีหนังสือเป็นหน้งสือ

ดังนั้น นายจ้างที่จะลงโทษ ไม่ว่าจะด้วยการเตือน หรือเลิกจ้าง นายจ้างต้องพิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบ ว่าการตัดสินใจของนายจ้างถูกต้องหรือไม่ และได้ปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนดไว้ด้วยหรือไม่ ซึ่งในบางกรณี นายจ้างอาจจะมองว่าเป็นความผิดกรณีร้ายแรง แต่เมื่อเปรียบเทียบกับคดีอื่นที่ได้วินิจฉัยโดยศาลฎีกา สำหรับการกระทำผิดกรณีเดียวกัน  ศาลฎีกา อาจเห็นว่า เป็นกรณีไม่ร้ายแรง เมื่อนายจ้างได้เลิกจ้างลูกจ้างไปแล้ว ศาลอาจพิพากษาให้นายจ้างจ่ายค่าบอกกล่าวล่วงหน้า และค่าชดเชยได้

บทความโดย สราวุธ ทองสุข ทนายความ

อ้างอิง : คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 137/2561

Share This Story, Choose Your Platform!

เมื่อลูกจ้างมาทำงานสาย และนายจ้างได้เตือนเป็นหนังสือแล้ว ลูกจ้างยังคงกระทำผิดซ้ำคำเตือนภายใน 1 ปี นายจ้างเลิกจ้างได้ทันทีโดยไม่ต้องจ่ายค่าบอกกล่าวล่วงหน้าและค่าชดเชย

เดิมลูกจ้างมาปฏิบัติงานสายเป็นประจำ และขาดงานโดยไม่มีการแจ้งลา ซึ่งการกระทำดังกล่าว ถือเป็นการฝ่าฝืนข้อบังคับเกี่ยวกับทำงาน ระเบียบ หรือคำสั่งของนายจ้าง ซึ่งเป็นกรณีที่ไม่ร้ายแรง ต่อมาเมื่อนายจ้างได้มีหนังสือเตือนเกี่ยวกับพฤติการดังกล่าว และลูกจ้างยังคงมีพฤติกรรมเช่นเดิม กล่าวคือ ยังมาปฏิบัติงานสาย  และขาดงาดโดยไม่แจ้งการลา ทั้ง ไม่ปรับปรุงการทำงาน ยังคงกระทำผิดซ้ำคำเตือนภายใน 1 ปี นับแต่กระทำผิดครั้งที่ถูกต้องเตือน พฤติกรรมดังกล่าวเป็นการกระทำอันไม่สมแก่การปฏิบัติหน้าที่ของตนให้ลุล่วงไปโดยถูกต้องและสุจริต นายจ้างจึงเลิกจ้างลูกจ้างได้ โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าและไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย ทั้งยังเป็นการเลิกจ้างที่มีเหตุอันสมควรและเพียงพอ ไม่ถือเป็นการเลิกจ้างโดยไม่เป็นธรรม ลูกจ้างจึงไม่มีสิทธิได้รับค่าเสียหายจากการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม

การพิจารณาว่าประพฤติผิดร้ายแรงหรือไม่ ต้องพิจารณาเป็นรายกรณีไป จากตัวอย่างข้างต้นจะเห็นได้ว่า การมาปฏิบัติงานสายเป็นประจำ เป็นการประพฤติผิดข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานกรณีไม่ร้ายแรง หากจะเลิกจ้างในทันทีจะต้องจ่ายค่าบอกกล่าวล่วงหน้า และค่าชดเชยตามกฎหมาย ยกเว้นลูกจ้างทำผิดซ้ำคำเตือนอีก ภายใน 1 ปี นับแต่วันที่นายจ้างได้มีหนังสือเป็นหน้งสือ

ดังนั้น นายจ้างที่จะลงโทษ ไม่ว่าจะด้วยการเตือน หรือเลิกจ้าง นายจ้างต้องพิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบ ว่าการตัดสินใจของนายจ้างถูกต้องหรือไม่ และได้ปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนดไว้ด้วยหรือไม่ ซึ่งในบางกรณี นายจ้างอาจจะมองว่าเป็นความผิดกรณีร้ายแรง แต่เมื่อเปรียบเทียบกับคดีอื่นที่ได้วินิจฉัยโดยศาลฎีกา สำหรับการกระทำผิดกรณีเดียวกัน  ศาลฎีกา อาจเห็นว่า เป็นกรณีไม่ร้ายแรง เมื่อนายจ้างได้เลิกจ้างลูกจ้างไปแล้ว ศาลอาจพิพากษาให้นายจ้างจ่ายค่าบอกกล่าวล่วงหน้า และค่าชดเชยได้

บทความโดย สราวุธ ทองสุข ทนายความ

อ้างอิง : คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 137/2561

Share This Story, Choose Your Platform!

เมื่อลูกจ้างมาทำงานสาย และนายจ้างได้เตือนเป็นหนังสือแล้ว ลูกจ้างยังคงกระทำผิดซ้ำคำเตือนภายใน 1 ปี นายจ้างเลิกจ้างได้ทันทีโดยไม่ต้องจ่ายค่าบอกกล่าวล่วงหน้าและค่าชดเชย

เดิมลูกจ้างมาปฏิบัติงานสายเป็นประจำ และขาดงานโดยไม่มีการแจ้งลา ซึ่งการกระทำดังกล่าว ถือเป็นการฝ่าฝืนข้อบังคับเกี่ยวกับทำงาน ระเบียบ หรือคำสั่งของนายจ้าง ซึ่งเป็นกรณีที่ไม่ร้ายแรง ต่อมาเมื่อนายจ้างได้มีหนังสือเตือนเกี่ยวกับพฤติการดังกล่าว และลูกจ้างยังคงมีพฤติกรรมเช่นเดิม กล่าวคือ ยังมาปฏิบัติงานสาย  และขาดงาดโดยไม่แจ้งการลา ทั้ง ไม่ปรับปรุงการทำงาน ยังคงกระทำผิดซ้ำคำเตือนภายใน 1 ปี นับแต่กระทำผิดครั้งที่ถูกต้องเตือน พฤติกรรมดังกล่าวเป็นการกระทำอันไม่สมแก่การปฏิบัติหน้าที่ของตนให้ลุล่วงไปโดยถูกต้องและสุจริต นายจ้างจึงเลิกจ้างลูกจ้างได้ โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าและไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย ทั้งยังเป็นการเลิกจ้างที่มีเหตุอันสมควรและเพียงพอ ไม่ถือเป็นการเลิกจ้างโดยไม่เป็นธรรม ลูกจ้างจึงไม่มีสิทธิได้รับค่าเสียหายจากการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม

การพิจารณาว่าประพฤติผิดร้ายแรงหรือไม่ ต้องพิจารณาเป็นรายกรณีไป จากตัวอย่างข้างต้นจะเห็นได้ว่า การมาปฏิบัติงานสายเป็นประจำ เป็นการประพฤติผิดข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานกรณีไม่ร้ายแรง หากจะเลิกจ้างในทันทีจะต้องจ่ายค่าบอกกล่าวล่วงหน้า และค่าชดเชยตามกฎหมาย ยกเว้นลูกจ้างทำผิดซ้ำคำเตือนอีก ภายใน 1 ปี นับแต่วันที่นายจ้างได้มีหนังสือเป็นหน้งสือ

ดังนั้น นายจ้างที่จะลงโทษ ไม่ว่าจะด้วยการเตือน หรือเลิกจ้าง นายจ้างต้องพิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบ ว่าการตัดสินใจของนายจ้างถูกต้องหรือไม่ และได้ปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนดไว้ด้วยหรือไม่ ซึ่งในบางกรณี นายจ้างอาจจะมองว่าเป็นความผิดกรณีร้ายแรง แต่เมื่อเปรียบเทียบกับคดีอื่นที่ได้วินิจฉัยโดยศาลฎีกา สำหรับการกระทำผิดกรณีเดียวกัน  ศาลฎีกา อาจเห็นว่า เป็นกรณีไม่ร้ายแรง เมื่อนายจ้างได้เลิกจ้างลูกจ้างไปแล้ว ศาลอาจพิพากษาให้นายจ้างจ่ายค่าบอกกล่าวล่วงหน้า และค่าชดเชยได้

บทความโดย สราวุธ ทองสุข ทนายความ

อ้างอิง : คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 137/2561

Share This Story, Choose Your Platform!

Get a personal consultation.

Contact ! 089 510 4758 | [email protected]

ขอคำปรึกษาทางกฎหมายฟรี

ติดต่อทนายความ ! 089 510 4758 | [email protected]