หลักทรัพย์ที่ศาลรับพิจารณาในการขอประกัน ได้แก่
1. เงินสด
2. หลักทรัพย์อื่นๆ
– พันธบัตรรัฐบาล
– สลากออมสิน สลาก ธ.ก.ส. พร้อมหนังสือรับรอง
– สมุดเงินฝากประจำธนาคาร หรือใบรับฝากประจำของธนาคารพร้อมหนังสือรับรองยอดเงินคงเหลือ และรับรองว่าธนาคารจะไม่ ยอมให้ถอนเงินจนกว่าจะได้รับคำสั่งจากศาล
– หนังสือค้ำประกันของธนาคาร
– หนังสือรับรองจากส่วนราชการค้ำประกันตามระเบียบกระทรวงการคลัง
– หนังสือรับรองกรมธรรม์ประกันภัยอิสรภาพ พร้อมแสดงตารางกรมธรรม์ประกันภัยอิสรภาพ
– เอกสารสิทธิเกี่ยวกับที่ดิน ได้แก่ โฉนดที่ดิน, น.ส.๓, น.ส.๓ ก. พร้อมหนังสือรับรองราคาประเมินที่ดินที่ออกให้ไม่เกิน๖ เดือน ระวางที่ดิน ภาพถ่ายที่ดิน พร้อมแนบที่ตั้งที่ดินที่นำมายื่น
3. มีบุคคลมาเป็นหลักประกันโดยแสดงหลักทรัพย์ (ใช้ตำแหน่งข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือตำแหน่งทนายความ) โดยต้องแสดงหนังสือรับรองตำแหน่งและเงินเดือน หรือรายได้ต่อเดือน ที่ออกให้ไม่เกิน 1 เดือน ใช้ประกันได้ในวงเงินไม่เกิน 10 เท่าของเงินเดือนหรือรายได้ต่อเดือน แต่ในกรณีที่ใช้ประกันตนเอง ในฐานความผิดซึ่งเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่หรือปฏิบัติงานในการประกอบวิชาชีพให้ประกันได้ไม่เกิน 15 เท่าของเงินเดือน (คดียาเสพติดใช้เฉพาะบิดา มารดา คู่สมรส บุพการีผู้สืบสันดาน เท่านั้น)
– ตั๋วแลกเงินที่ธนาคารเป็นผู้จ่ายและรับรองตลอดไป แล้วเช็คที่ธนาคารเป็นผู้สั่งจ่ายหรือรับรองและสามารถเรียกเก็บเงินได้ภายในวันทำสัญญาประกัน
– หลักประกันเดิมที่วางไว้เป็นประกันต่อพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการ โดยจะต้องมีหนังสือรับรองจากพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการ รับรองว่าได้วางหลักประกันไว้จริง และจะส่งมายังศาลพร้อมกับสำเนาสัญญาประกันและเอกสารเกี่ยวกับหลักประเมินนั้น
– วางเงินประกันผ่านบัตรเครดิตธนาคารกรุงไทย จำกัด(มหาชน) (KTC mastercard) (ธนาคารคิดค่าธรรมเนียม ร้อยละ 1)
*** ที่มา : คู่มือการติดต่อราชการศาลยุติธรรม ฉบับประชาชน
หลักทรัพย์ที่ศาลรับพิจารณาในการขอประกัน ได้แก่
1. เงินสด
2. หลักทรัพย์อื่นๆ
– พันธบัตรรัฐบาล
– สลากออมสิน สลาก ธ.ก.ส. พร้อมหนังสือรับรอง
– สมุดเงินฝากประจำธนาคาร หรือใบรับฝากประจำของธนาคารพร้อมหนังสือรับรองยอดเงินคงเหลือ และรับรองว่าธนาคารจะไม่ ยอมให้ถอนเงินจนกว่าจะได้รับคำสั่งจากศาล
– หนังสือค้ำประกันของธนาคาร
– หนังสือรับรองจากส่วนราชการค้ำประกันตามระเบียบกระทรวงการคลัง
– หนังสือรับรองกรมธรรม์ประกันภัยอิสรภาพ พร้อมแสดงตารางกรมธรรม์ประกันภัยอิสรภาพ
– เอกสารสิทธิเกี่ยวกับที่ดิน ได้แก่ โฉนดที่ดิน, น.ส.๓, น.ส.๓ ก. พร้อมหนังสือรับรองราคาประเมินที่ดินที่ออกให้ไม่เกิน๖ เดือน ระวางที่ดิน ภาพถ่ายที่ดิน พร้อมแนบที่ตั้งที่ดินที่นำมายื่น
3. มีบุคคลมาเป็นหลักประกันโดยแสดงหลักทรัพย์ (ใช้ตำแหน่งข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือตำแหน่งทนายความ) โดยต้องแสดงหนังสือรับรองตำแหน่งและเงินเดือน หรือรายได้ต่อเดือน ที่ออกให้ไม่เกิน 1 เดือน ใช้ประกันได้ในวงเงินไม่เกิน 10 เท่าของเงินเดือนหรือรายได้ต่อเดือน แต่ในกรณีที่ใช้ประกันตนเอง ในฐานความผิดซึ่งเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่หรือปฏิบัติงานในการประกอบวิชาชีพให้ประกันได้ไม่เกิน 15 เท่าของเงินเดือน (คดียาเสพติดใช้เฉพาะบิดา มารดา คู่สมรส บุพการีผู้สืบสันดาน เท่านั้น)
– ตั๋วแลกเงินที่ธนาคารเป็นผู้จ่ายและรับรองตลอดไป แล้วเช็คที่ธนาคารเป็นผู้สั่งจ่ายหรือรับรองและสามารถเรียกเก็บเงินได้ภายในวันทำสัญญาประกัน
– หลักประกันเดิมที่วางไว้เป็นประกันต่อพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการ โดยจะต้องมีหนังสือรับรองจากพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการ รับรองว่าได้วางหลักประกันไว้จริง และจะส่งมายังศาลพร้อมกับสำเนาสัญญาประกันและเอกสารเกี่ยวกับหลักประเมินนั้น
– วางเงินประกันผ่านบัตรเครดิตธนาคารกรุงไทย จำกัด(มหาชน) (KTC mastercard) (ธนาคารคิดค่าธรรมเนียม ร้อยละ 1)
*** ที่มา : คู่มือการติดต่อราชการศาลยุติธรรม ฉบับประชาชน
หลักทรัพย์ที่ศาลรับพิจารณาในการขอประกัน ได้แก่
1. เงินสด
2. หลักทรัพย์อื่นๆ
– พันธบัตรรัฐบาล
– สลากออมสิน สลาก ธ.ก.ส. พร้อมหนังสือรับรอง
– สมุดเงินฝากประจำธนาคาร หรือใบรับฝากประจำของธนาคารพร้อมหนังสือรับรองยอดเงินคงเหลือ และรับรองว่าธนาคารจะไม่ ยอมให้ถอนเงินจนกว่าจะได้รับคำสั่งจากศาล
– หนังสือค้ำประกันของธนาคาร
– หนังสือรับรองจากส่วนราชการค้ำประกันตามระเบียบกระทรวงการคลัง
– หนังสือรับรองกรมธรรม์ประกันภัยอิสรภาพ พร้อมแสดงตารางกรมธรรม์ประกันภัยอิสรภาพ
– เอกสารสิทธิเกี่ยวกับที่ดิน ได้แก่ โฉนดที่ดิน, น.ส.๓, น.ส.๓ ก. พร้อมหนังสือรับรองราคาประเมินที่ดินที่ออกให้ไม่เกิน๖ เดือน ระวางที่ดิน ภาพถ่ายที่ดิน พร้อมแนบที่ตั้งที่ดินที่นำมายื่น
3. มีบุคคลมาเป็นหลักประกันโดยแสดงหลักทรัพย์ (ใช้ตำแหน่งข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือตำแหน่งทนายความ) โดยต้องแสดงหนังสือรับรองตำแหน่งและเงินเดือน หรือรายได้ต่อเดือน ที่ออกให้ไม่เกิน 1 เดือน ใช้ประกันได้ในวงเงินไม่เกิน 10 เท่าของเงินเดือนหรือรายได้ต่อเดือน แต่ในกรณีที่ใช้ประกันตนเอง ในฐานความผิดซึ่งเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่หรือปฏิบัติงานในการประกอบวิชาชีพให้ประกันได้ไม่เกิน 15 เท่าของเงินเดือน (คดียาเสพติดใช้เฉพาะบิดา มารดา คู่สมรส บุพการีผู้สืบสันดาน เท่านั้น)
– ตั๋วแลกเงินที่ธนาคารเป็นผู้จ่ายและรับรองตลอดไป แล้วเช็คที่ธนาคารเป็นผู้สั่งจ่ายหรือรับรองและสามารถเรียกเก็บเงินได้ภายในวันทำสัญญาประกัน
– หลักประกันเดิมที่วางไว้เป็นประกันต่อพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการ โดยจะต้องมีหนังสือรับรองจากพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการ รับรองว่าได้วางหลักประกันไว้จริง และจะส่งมายังศาลพร้อมกับสำเนาสัญญาประกันและเอกสารเกี่ยวกับหลักประเมินนั้น
– วางเงินประกันผ่านบัตรเครดิตธนาคารกรุงไทย จำกัด(มหาชน) (KTC mastercard) (ธนาคารคิดค่าธรรมเนียม ร้อยละ 1)
*** ที่มา : คู่มือการติดต่อราชการศาลยุติธรรม ฉบับประชาชน